เริ่มต้นกันเลยเครื่องมือที่ต้องมีเพื่อความสะดวกคือ
- PHP version 5.X
- Composer
- PHPUNIT ตอนนี้ stable ที่ version 4.x
จะมี PHP ติดมาด้วยสะดวกดีแต่ก็ต้องไป set ENV หรือทำให้วินโดวส์รู้จักว่า php ที่ติดตั้งลงไปอยู่ที่ไหนของ DRIVE Download Xamp installer
ขั้นตอนต่อมาลอง Run PHP ดูครับหลังจากที่ติดตั้ง xamp และตั้งค่า ENV ของเครื่องโดยการรัน cmd แล้วพิมพ์ php -v ถ้าไม่ขึ้นเวอร์ชั่นของ php แสดงว่าติดตั้งเรียบร้อยครับ
ขั้นตอนต่อมาติดตั้ง composer ตัวนี้จะมาทำหน้าที่จัดการ Library ต่าง ๆที่เราต้องการติดตั้งเพิ่มเติมให้กับ Project ของเราลองไปอ่านเพิ่มเติมได้ที่ DOC official ของมันแล้วกันผมว่ามันเจ๊งมาก ๆครับ ต่อเลยแล้วกัน Composer-Setup.exe ลงปรติธรรมดาไม่มีอะไรมากเป็น window installer หลังจากเสร็ดก็มาทดสอบดูว่า composer ของเราทำงานได้ปรกติหรือเปล่าโดยไปที่ cmd แล้วพิมพ์ composer
เอ้าล่ะครับใกล้จะได้ล่ะต่อมาก็เริ่มการติดตั้ง PHPUnit ผ่านทาง composer กันเลยดีกว่า ด้วยคำสั่ง
composer require phpunit/phpunit --dev รออสักครู่ไรบารี่ที่ติดตั้งจะเป็น Global สามารถเรียกใช้ได้ทุกที่ครับคล้ายกันกับ nodjs -G install ประมาณนั้นครับ ตัว composer สามารถทำได้อีกหลายอย่างน่ะครับแต่ไม่ขออธิบายในส่วนรายละเอียดอื่น ๆ เอาล่ะพอเสร็ดแล้วมาทดสอบกันว่า PHPUnit ติดตั้งเสร็ดเรียบร้อยหรือไม่โดยการพิมพ์คำสั่ง phpunit
composer require phpunit/phpunit --dev รออสักครู่ไรบารี่ที่ติดตั้งจะเป็น Global สามารถเรียกใช้ได้ทุกที่ครับคล้ายกันกับ nodjs -G install ประมาณนั้นครับ ตัว composer สามารถทำได้อีกหลายอย่างน่ะครับแต่ไม่ขออธิบายในส่วนรายละเอียดอื่น ๆ เอาล่ะพอเสร็ดแล้วมาทดสอบกันว่า PHPUnit ติดตั้งเสร็ดเรียบร้อยหรือไม่โดยการพิมพ์คำสั่ง phpunit
หากว่าหน้าจอแสดงผลออกมาแบบนี้แสดงว่าการติดตั้งเสร็ดเรียบร้อยเป็นอย่างดีครับ เอาล่ะมาทดสอบการใช้ PHPUnit กันดีกว่าครับ โดยการสร้างไฟล์ขึ้นมาไว้ที่ไหนก็ได้ครับแต่ต้อง เป็น คลาสที่แตกออกมาจาก PHPUnit test ครับ
ในกรณีที่เขียนแค่ไฟล์เดียวเพื่อลองเล่น PHPUnit ครับ ต่อไปคือการทดสอบ code ครับว่าผลลัพธ์จะเป็นอย่างไรโดยการไปที่ cmd แล้วเข้าไปยังที่เก็บไฟล์ครับตามด้วยคำสั่ง phpunit <filename.type> ครับ
ตัวอย่างผลการรันที่ Success
ตัวอย่างการรันที่ Error
มาดูวิธีการรันแบบ มีการอิมพลีเมนต์มาจาก class อื่น ๆหรือไฟล์อื่น ๆครับ โดยอาศัยการ autoload ของ bootstarp ของ phpunit ครับสามารถทำได้โดย การสร้างไฟล์ class หลัก 1 ไฟล์ ตามด้วย ไฟล์ test PHPunit 1 ไฟล์ ดังภาพครับ
ไฟล์ที่ 1
ไฟล์ที่ 2
เอาละครับมาลองรันกันดูว่าผลลัพธ์จะออกมายังไง แต่วิธีการรันแตกต่างนิดหน่อยครับ โดยไปที่ cmd เหมือนเดิม เข้าไปที่ ที่อยู่ไฟล์ ตามด้วยคำสั่ง phpunit --bootstrap <file1> <file2>
ผลลัพธ์ที่ Success
ผลลัพธ์ที่ Error
นี่เป็นแค่ติดตั้งและการใช้งานเบื้อต้นเท่านั้นน่ะครับ สำหรับท่านที่ยังไม่เคยลองใช้ PHPunit มาก่อนเลยเป็นวิธีการทำแบบง่ายครับ
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น