[PHPUNIT Install การติดตั้ง phpunit และการใช้งานเบื้องต้น] PART.1

พอได้ผมได้มีโอกาศศึกษาเรื่อง PHPUnit เลยอยากแบ่งปันประสบการณ์ตั้งแต่การติดตั้งอย่างง่าย พอดีผมไปดูที่อื่น ๆมารู้สึกว่าอาจจะเป็นการยากสำหรับมือใหม่เลยอยากจะแบ่งปันครับ

เริ่มต้นกันเลยเครื่องมือที่ต้องมีเพื่อความสะดวกคือ

  1. PHP version 5.X
  2. Composer
  3. PHPUNIT ตอนนี้ stable ที่ version 4.x
หากเครื่องยังไม่ได้ลง PHP ก็ทำการติดตั้งซะน่ะครับ สามารถทำได้โดยติดตั้งผ่านทาง Xamp installer
จะมี PHP ติดมาด้วยสะดวกดีแต่ก็ต้องไป set ENV หรือทำให้วินโดวส์รู้จักว่า php ที่ติดตั้งลงไปอยู่ที่ไหนของ DRIVE Download Xamp installer

ขั้นตอนต่อมาลอง Run PHP ดูครับหลังจากที่ติดตั้ง xamp และตั้งค่า ENV ของเครื่องโดยการรัน cmd แล้วพิมพ์ php -v ถ้าไม่ขึ้นเวอร์ชั่นของ php แสดงว่าติดตั้งเรียบร้อยครับ


ขั้นตอนต่อมาติดตั้ง composer ตัวนี้จะมาทำหน้าที่จัดการ Library ต่าง ๆที่เราต้องการติดตั้งเพิ่มเติมให้กับ Project ของเราลองไปอ่านเพิ่มเติมได้ที่ DOC official ของมันแล้วกันผมว่ามันเจ๊งมาก ๆครับ ต่อเลยแล้วกัน Composer-Setup.exe ลงปรติธรรมดาไม่มีอะไรมากเป็น window installer หลังจากเสร็ดก็มาทดสอบดูว่า composer ของเราทำงานได้ปรกติหรือเปล่าโดยไปที่ cmd แล้วพิมพ์ composer

เอ้าล่ะครับใกล้จะได้ล่ะต่อมาก็เริ่มการติดตั้ง PHPUnit ผ่านทาง composer กันเลยดีกว่า ด้วยคำสั่ง
composer require phpunit/phpunit --dev รออสักครู่ไรบารี่ที่ติดตั้งจะเป็น Global สามารถเรียกใช้ได้ทุกที่ครับคล้ายกันกับ nodjs -G install ประมาณนั้นครับ ตัว composer สามารถทำได้อีกหลายอย่างน่ะครับแต่ไม่ขออธิบายในส่วนรายละเอียดอื่น ๆ เอาล่ะพอเสร็ดแล้วมาทดสอบกันว่า PHPUnit ติดตั้งเสร็ดเรียบร้อยหรือไม่โดยการพิมพ์คำสั่ง phpunit
หากว่าหน้าจอแสดงผลออกมาแบบนี้แสดงว่าการติดตั้งเสร็ดเรียบร้อยเป็นอย่างดีครับ เอาล่ะมาทดสอบการใช้ PHPUnit กันดีกว่าครับ โดยการสร้างไฟล์ขึ้นมาไว้ที่ไหนก็ได้ครับแต่ต้อง เป็น คลาสที่แตกออกมาจาก PHPUnit test ครับ

ในกรณีที่เขียนแค่ไฟล์เดียวเพื่อลองเล่น PHPUnit ครับ ต่อไปคือการทดสอบ code ครับว่าผลลัพธ์จะเป็นอย่างไรโดยการไปที่ cmd แล้วเข้าไปยังที่เก็บไฟล์ครับตามด้วยคำสั่ง phpunit <filename.type> ครับ
ตัวอย่างผลการรันที่ Success 


ตัวอย่างการรันที่ Error 

มาดูวิธีการรันแบบ มีการอิมพลีเมนต์มาจาก class อื่น ๆหรือไฟล์อื่น ๆครับ โดยอาศัยการ autoload ของ  bootstarp ของ phpunit ครับสามารถทำได้โดย การสร้างไฟล์ class หลัก 1 ไฟล์ ตามด้วย ไฟล์ test PHPunit 1 ไฟล์ ดังภาพครับ
ไฟล์ที่ 1
ไฟล์ที่ 2

เอาละครับมาลองรันกันดูว่าผลลัพธ์จะออกมายังไง แต่วิธีการรันแตกต่างนิดหน่อยครับ โดยไปที่ cmd เหมือนเดิม เข้าไปที่ ที่อยู่ไฟล์ ตามด้วยคำสั่ง phpunit --bootstrap <file1>   <file2> 
ผลลัพธ์ที่ Success 

ผลลัพธ์ที่ Error


นี่เป็นแค่ติดตั้งและการใช้งานเบื้อต้นเท่านั้นน่ะครับ สำหรับท่านที่ยังไม่เคยลองใช้ PHPunit มาก่อนเลยเป็นวิธีการทำแบบง่ายครับ
Share on Google Plus

About maxcom

This is a short description in the author block about the author. You edit it by entering text in the "Biographical Info" field in the user admin panel.
    Blogger Comment
    Facebook Comment

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น