คำสั่ง sql สามส่วน

Query เป็นสิ่ิงที่สำคัญเลยแหละครับสำหรับการเขียนโปรแกรมไม่เพียงลดเวลาในการนำข้อมูลที่ได้มาไปใช้ประโยชน์แล้ว  วิธีการหลัการได้มาซึ่งข้อมูลก็เป็นเรื่องที่สำคัญมาก ๆเลยที่เดียว .. 
เพราะว่าโปรแกรมนั้นส่วนมากจะทำหน้าที่จัดการข้อมูลที่มีอยู่โดยการกระทำของ ผู้ใช้ user หรือ Computer ก็แล้วแต่ที่จะออกแบบสุดท้ายคือมาลงที่ข้อมูลที่มีอยู่ อยู่ดี ดั้งนั้นการจัดการข้อมูลการออกแบบ ระบบฐานข้อมูลให้ดี ไว เข้าถึงได้ง่ายแหละครอบคลุม ไม่ทับซ้อนกัน

คำสั่ง sql สามส่วนประกอบด้วยอะไรบ้าง ?
- ส่วนแรกคือ ส่วนหน้า SELECT
- ส่วนที่สองรองจากว่า FROM
- ส่วนที่สามคือ WHERE
สามส่วนนี้ครอบคลุมคำสั่ง SELECT SQL ทั้งหมด

ส่วนแรกเราทำอะไรกับคำสั่งได้บ้าง ? ส่วนแรกสุดเป็นส่วนที่เราได้หรือกระทำกับข้อมูล
ส่วนที่เราจะเลือกมันออกมาจากที่เรามีอยู สามารถใช้ * ทั้งหมด ใช้ในกรณีที่เราอยากได้ทั้งหมดจริ งๆ มิฉนั้นควรเลือกเป็นฟิว ๆ ที่เราต้องการแค่นั้นพอเพื่อนลด Memory ของเซิฟเวอร์ในการทำงาน

ส่วนที่สอง FROM ในส่วนนี้เราสามารถสร้างสิ่งที่ว่า Sub Query ได้ เพื่อการสร้างข้อมูลด้วยเงื่อนไขทีเราต้องการจาก ตารางนี้หรือตารางอื่น ๆได้ เช่น select * form (select*from tb_xx) , (select*from tb_yy)
เราจะได้ข้อมูลที่อยู่ภายในเงื่อนไขออกมาตามที่เรามีความคิด ขั้นเทพแค่ไหนในการคิดตรรกะขึ้นมา ไม่ว่จะเป็นการจอยการ inner right left alias สามารถทำได้หมด โดยข้อมูลจะถูกมองเป็นก้อน ๆหนึ่งภายหลังจากการทำงาเรียบร้อยแล้ว

ส่วนที่สามหลังคำว่า WHERE อันนี้หมายความว่าเงื่อนไขซึ่งก็คือเงื่อนไขนั่นแหละ แต่จริ งๆเราสามารถทำเงื่อนไขให้มัน สลับซับซ้อนได้แล้วแต่เราจะคิดขึ้นมา ไม่ใช่แค่ว่า a=a or xx  เรายังสามารถสร้าง sub query ได้ภายในเงื่อนไขนี้ด้วย----

เทคนิคที่ทำให้การ Query ข้อมูลรวดเร็วฉับไวขึ้น

ประโยชน์ของการ Group by ();
ทำไมต้อง AS ,having ,
และสุดท้ายคือ Count(*); กับ Count(field) อันไหนดีกว่ากัน
และ int char() varchar ; set index ,Mysam , InnoDB อันไหนดีกว่า ---
ทำไมต้องมี PK เพื่อ ? แล้ว uniq จะมีประโยชน์มากแค่ไหน ..
ทำไมต้องไม่ควรใช้ left inner right join กับ Bigdata () ;---
นั้นคือสิ่งที่คนเขียนโปรแกรมควรจะรู้คำตอบด้วยตัวของเขาเอง .ประกอบกับการตัดสินใจและเลือกใช้คำสั่ง   
Share on Google Plus

About maxcom

This is a short description in the author block about the author. You edit it by entering text in the "Biographical Info" field in the user admin panel.
    Blogger Comment
    Facebook Comment

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น